Boonchai bencharongkul biography of christopher


บุญชัย เบญจรงคกุล

บุญชัย เบญจรงคกุล

บุญชัย (ด้านหน้า) ณ พิพิธภัณฑ์ศิลปะร่วมสมัย ปี

เกิด25 มิถุนายน พ.ศ. (70&#;ปี)
อาชีพนักธุรกิจ
คู่สมรสวาสนา เบญจรงคกุล (หย่า)
วรรณา เบญจรงคกุล (หย่า)
เบญจมาศ เบญจรงคกุล (หย่า)
สรารัตน์ หรุ่มเรืองวงศ์ (เลิกรา)
เบญจา บารมีย์ (–)
บงกช คงมาลัย (–ปัจจุบัน)
บุตร6 คน

บุญชัย เบญจรงคกุล (เกิดเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. [1]) เป็นมหาเศรษฐีและนักสะสมงานศิลปะชาวไทย เขาเป็นผู้ก่อตั้งและประธาน ดีแทค ผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือรายใหญ่อันดับสามของประเทศไทย

บุญชัยเป็นบุตรคนโตในจำนวนสี่คนของสุจินต์ เบญจรงคกุล ซึ่งสร้างธุรกิจด้วยการร่วมมือกับ โมโตโรล่า และได้นำบุญชัยเข้าสู่วงการธุรกิจ เมื่อพ่อของเขาเสียชีวิตใน พ.ศ. ขณะที่บุญชัยมีอายุ 27 ปี เขาเป็นหนี้จำนวนมากท่ามกลางการฟ้องร้องมากมาย ในที่สุดเขาก็เลิกกิจการบางสาขาของธุรกิจ และเปลี่ยนไปโฟกัสอุตสาหกรรมโทรคมนาคมที่กำลังเติบโต แต่ต่อมาได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงจาก วิกฤตการณ์ทางการเงินในปี บุญชัยจึงหันไปร่วมมือกับ เทเลนอร์ บริษัทโทรคมนาคมของนอร์เวย์ เขาและพี่น้องอีกสามคนขายหุ้นส่วนใหญ่ให้เทเลนอร์ในปี พ.ศ. แม้ว่าบุญชัยจะยังคงเป็นประธานของบริษัทก็ตาม[2][1]

บุญชัยมีความสนใจในงานศิลปะมาอย่างยาวนาน และเป็นนักสะสมงานศิลปะตัวยง ในปี เขาได้สร้างพิพิธภัณฑ์ศิลปะไทยร่วมสมัยในกรุงเทพฯ ซึ่งเป็นหนึ่งในพิพิธภัณฑ์ศิลปะขนาดใหญ่ในประเทศไทย[3] นอกจากนี้ บุญชัยยังเป็นสาวกวัดพระธรรมกาย เขาพบว่าพุทธศาสนาและการทำสมาธิช่วยให้เขาผ่านพ้นความตายของบิดาและวิกฤตการณ์ทางการเงิน

บุญชัยสมรสกับบงกช คงมาลัย ซึ่งเป็นภรรยาคนที่หกของเขาในปี [2][4]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

  1. "บุญชัย เบญจรงคกุล". Thai Rath. สืบค้นเมื่อ 16 February
  2. "From Mobile manage Art: Boonchai of Thailand Opens Clandestine Museum". Forbes (ภาษาอังกฤษ). 24 June สืบค้นเมื่อ 16 February
  3. Rithdee, Kong (11 Apr ). "The belief in art". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 20 July
  4. "'Tak' says she'll wed rich Dtac founder". Bangkok Post. 29 October สืบค้นเมื่อ 16 Feb
  5. ↑ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๘[ลิงก์เสีย], เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๑ ข หน้า ๓๐, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘
  6. ↑ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทยเก็บถาวร ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๖ ตอนที่ ๑๖ ข หน้า ๖๓, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๒
  7. ↑ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์เก็บถาวร ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๒๙ ข หน้า ๒, ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๐
  8. ↑ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้าเก็บถาวร ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๑๒๐ ตอนที่ ๙ ข หน้า ๓, ๔ พฤษภาคม ๒๕๔๖